เกี่ยวกับนิตยสารดุลพาห

ดุลพาห

ยึดมั่นในหน้าที่ ตามวิถีตุลาการ

สานต่อ • เสริมสร้าง • ส่งต่ออย่างยั่งยืน

สารบัญ

ทบทวนหลักกฎหมายและแนวปฏิบัติของไทย กรณีจําเลยให้การรับสารภาพต่อศาล

A Critical Review of Thailand's Law and Practices on Dealing with Guilty Pleas

อ่าน 2536 ครั้ง

ศุภกิจ แย้มประชา

ผู้พิพากษาประจําสํานักงานศาลยุติธรรม

วันที่ได้รับบทความ -

วันที่แก้ไขบทความ -

วันที่ตอบรับ -

การให้ศาลมีคำพิพากษาในคดีที่จำเลยให้การรับสารภาพโดยไม่มีการสืบพยาน และการลดโทษให้จำเลยที่ให้การรับสารภาพนั้นเป็นแนวปฏิบัติที่ดำเนินการมานานในศาลไทย แต่น่าแปลกใจว่าจนถึงปัจจุบันยังไม่มีการวิพากษ์วิจารณ์และทบทวนหลักกฎหมายและแนวปฏิบัติในเรื่องดังกล่าวอย่างเป็นระบบ บทความนี้เปรียบเทียบหลักกฎหมายและแนวปฏิบัติของไทยกรณีที่จำเลยให้การรับสารภาพต่อศาลกับหลักกฎหมาย และแนวปฏิบัติเรื่องดังกล่าวในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ และเสนอแนะว่าควรมีการทบทวนหลักกฎหมายและแนวปฏิบัติของไทยอย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้ คือ ผลทางกฎหมาย ของการให้การรับสารภาพ เงื่อนไขการรับฟังคำให้การรับสารภาพ ความสำคัญของการมีทนายความในขั้นตอนของการให้การรับสารภาพ การลดโทษให้จำเลยที่ให้การรับสารภาพ และสิทธิในการอุทธรณ์และขอรื้อฟื้นคดีอาญาของจำเลยที่ให้การรับสารภาพ

That a guilty plea can waive a trial and that a timely guilty plea can reduce sentences are among the longest established practices in Thailand's criminal procedure. However, a comprehensive and critical review of Thailand's law and practices on dealing with guilty pleas seems to be long overdue. This article fills this gap in the literature by comparing Thai law and practices on the issue with those of England and the US and pointing out five main areas of Thailand's law and practices that need to be reconsidered: procedural effects of guilty pleas, conditions of a valid guilty plea, the significance of lawyers in advising their clients to plead guilty, a reduction of sentences for guilty pleas and the right of appeal and the right to reopen criminal cases for defendants who plead guilty.

นิตยสารสำนักงานศาลยุติธรรม ดุลพาห

พัฒนาโดย สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ

เวอร์ชัน 1.5.3

ติดต่อสอบถาม

สำนักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม

ส่วนเอกสารวิชาการ

โทร. 0 2513 0656