เกี่ยวกับนิตยสารดุลพาห

ดุลพาห

ยึดมั่นในหน้าที่ ตามวิถีตุลาการ

สานต่อ • เสริมสร้าง • ส่งต่ออย่างยั่งยืน

สารบัญ

สัมผัสคดีดังต่างประเทศ : สถานะทางกฎหมายของแรงงานบนแพลตฟอร์ม กรณีคนขับ Uber คดี Uber BV v Aslam (ตอนที่ ๑)

Famous Foreign Case: Legal Status of Platform Workers: the Case of Uber Drivers in Uber BV v Aslam (part 1)

อ่าน 1874 ครั้ง

อิสรีย์ ตัณฑสิทธิ์

ผู้พิพากษาศาลภาษีอากรกลาง

Isaree Tantasith

Judge of the Central Tax Court

วันที่ได้รับบทความ -

วันที่แก้ไขบทความ -

วันที่ตอบรับ -

การเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจดิจิทัลส่งผลให้เกิดการอุบัติขึ้นของการจ้างงานชั่วคราวผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ หากแต่สถานะทางกฎหมายของแรงงานบนแพลตฟอร์มยังคงคลุมเครือ ทำให้กลุ่มแรงงานนี้ขาดความคุ้มครองตามกฎหมายที่ชัดเจน ในปี ๒๕๖๔ ศาลสูงสุดแห่งสหราชอาณาจักรได้มีคำพิพากษาในคดี Uber BV v Aslam ว่า คนขับ Uber ถือเป็น “คนงาน” มีสิทธิได้รับอัตราค่าแรงค่าจ้างขั้นต่ำ วันลา และสิทธิอื่น ๆ ตามกฎหมาย บทความตอนที่ ๑ สรุปเหตุผลและคำวินิจฉัยในคดีดังกล่าวก่อนที่จะวิเคราะห์เกี่ยวกับการปรับใช้หลักกฎหมายว่าด้วยสัญญา หลักกฎหมายว่าด้วยตัวแทน และกฎหมายแรงงาน รวมถึงผลของคำวินิจฉัยในบริบทประเทศไทยต่อไปในตอนที่ ๒

The shift towards an era of ‘Digital Economy’ predisposes the emergence of new work arrangements hinged upon digital platforms procuring services from so-called ‘Platform Worker’ whose protection under the employment law is elusive. In Uber BV v Aslam, the UK Supreme Court, applying the legal principles of contract, agency, and labour protection, held in a landmark ruling that Uber drivers are ‘workers’ entitled to national minimum wage, paid annual leave and other workers’ rights. As a two-part article, this Part I summarises the contents and the ratio of the judgement to lay the groundwork for analysis in Part II.

นิตยสารสำนักงานศาลยุติธรรม ดุลพาห

พัฒนาโดย สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ

เวอร์ชัน 1.5.3

ติดต่อสอบถาม

สำนักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม

ส่วนเอกสารวิชาการ

โทร. 0 2513 0656