เกี่ยวกับนิตยสารดุลพาห

ดุลพาห

ยึดมั่นในหน้าที่ ตามวิถีตุลาการ

สานต่อ • เสริมสร้าง • ส่งต่ออย่างยั่งยืน

สารบัญ

สิทธิของผู้ต้องหาและจำเลยในการตรวจสอบพยานฝ่ายโจทก์ : มุมมองจากศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป

The Alleged Offenderûs and Accusedûs Rights to Examine Prosecution Witnesses: Perspectives from European Court of Human Rights

อ่าน 1438 ครั้ง

วุฒิพงศ์ จิตอ่อนน้อม

นักกฎหมายกฤษฎีกาชํานาญการพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

Wuttipong Jitonnom

Senior Professional Legal Counsel, Office of the Council of State

วันที่ได้รับบทความ 6 มกราคม 2565

วันที่แก้ไขบทความ 10 มิถุนายน 2565

วันที่ตอบรับ 5 สิงหาคม 2565

บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาขอบเขตและสารัตถะแห่งสิทธิของผู้ต้องหาและจําเลยในการ ตรวจสอบพยานฝ่ายโจทก์ที่ให้ถ้อยคําเป็นผลร้ายแก่ตน ตามข้อบทที่ 5 วรรคสาม (ดี) แห่ง อนุสัญญาสิทธิมนุษยชนยุโรปผ่านมุมมองการตีความของศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป แล้วนํามา เปรียบเทียบกับกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย โดยพบว่าบทบัญญัติบางมาตรา ของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไทยยังมีข้อบกพร่องบางประการในการ คุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาในการตรวจสอบพยานฝ่ายโจทก์เมื่อเทียบกับระบอบการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาและจําเลยภายใต้อนุสัญญาสิทธิมนุษยชนยุโรป ฉะนั้น ตอนท้ายของ บทความจึงได้มีข้อเสนอแนะในการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ของไทย

This article studies the scope and substance of the alleged offenderûs and accusedûs rights to examine prosecution witnesses who have testified against him, according to Article 6 paragraph 3 (d) of the European Convention on Human Rights through the European Court of Human Rights lens. This study compares with the Thai criminal procedure law. The study has found that some sections of the Thai Criminal Procedure Code also have some deficiencies in protecting the right of the alleged offender to examine the prosecutorûs witnesses compared with the protective regime of the alleged offenderûs and accusedûs rights under the European Convention on Human Rights. Therefore, this article will recommend amendments to the Thai Criminal Procedure Code for the alleged offenderûs rights.

นิตยสารสำนักงานศาลยุติธรรม ดุลพาห

พัฒนาโดย สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ

เวอร์ชัน 1.5.3

ติดต่อสอบถาม

สำนักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม

ส่วนเอกสารวิชาการ

โทร. 0 2513 0656